หมากเม่ามีฤทธิ์ด้านเชื้อ HIV


หมากเม่า เป็นพืช Genus Antidesma ที่มีประมาณ 170 ชนิด (species) มีกระจายตัวอยู่ในเขตโลกเก่า
ของเขตร้อน (old world tropic) หมายถึง ยุโรป เอเชีย และอัฟริกา รวมถึงหมู่เกาะโดยรอบ ในประเทศไทย
มีมากในจังหวัดลพบุรี ปราจีนบุรี โดยเฉพาะเทือกเขาภูพาน จากผลการสำรวจของ Hoffman (2005)

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นิยมรับประทานผลสดโดยการนำมาปรุงรสคล้ายๆ ส้มตำ
หรือเรียกว่า "ตำหมากเม่า" หรือใช้เปลือกต้นหรือใบมาโขลกรวมกับพริกสด และน้ำปลาร้า เรียกว่า
"ตำเมี่ยง" นิยมรับประทานในฤดูร้อน ความฝาดจากเปลือกต้นและใบ จะช่วยลดอาการท้องเสียได้
ในด้านโภชนาการมีคุณค่าทางอาหารสูง จากการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม พบว่า
หมากเม่ามีคุณค่าในทุกส่วนของต้น มีรายงานวิจัยจากหน่วยงานต่างๆเช่น
- กัลมาลและคณะ (2546) ศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อ HIV เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย มีศักยภาพในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันและมีฤทธิ์ด้านเชื้อ HIV
- สมานและสำรี (2549) สกัดสารโพลีนอลที่จะได้จากไวน์แดงสยามมัวส์ (SRPE) และไม้มะเม่า (MPE)
อัตรา 1 ต่อ 1 พบว่าสารโพลีนอลแสดงผลยับยั้งการเจริญเติบโตในเซลล์มะเร็ง 5 ชนิด ได้แก่
มะเร็งเต้านม มะเร็งเม็ดเลือดแดงตับอ่อนชนิที่ไวและดื่อต่อยา มะเร็งปิดชนิดเล็กที่ไว มีความเป็นไปได้
ที่จะมีการพัฒนาสารโพลีนอลดังกล่าวเป็นสารอาหารที่ใช้ในการป้องกันและรักษามะเร็งในระดับคลินิกต่อไป

ผลหมากเม่าสุกมีกรดอะมิโน 18 ชนิด แคลเซียม เหล็ก สังกะสี วิตามินบี 1 บี 2 ซี และ อี
ผลิตภัณฑ์แปรรูปเช่น น้ำผลไม้ ไวน์หมากเม่า แยมกวน สีธรรมชาติผสมอาหาร ฯลฯ น้ำหมากเม่าสกัด
เข้มข้น 100% มีสารอาหาร วิตามินหลายชนิด ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย รวมทั้งมีสารต้านอนุมูลอิสระ
ไวน์หมากเม่ามีสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง.

.JPG)
>>>>>>>>>>>>>
นำมาจาก http://ridmnrct.blogspot.com/2013/04/blog-post_30.html
http://www.dailynews.co.th/agriculture/211613


หมากเม่า เป็นพืช Genus Antidesma ที่มีประมาณ 170 ชนิด (species) มีกระจายตัวอยู่ในเขตโลกเก่า
ของเขตร้อน (old world tropic) หมายถึง ยุโรป เอเชีย และอัฟริกา รวมถึงหมู่เกาะโดยรอบ ในประเทศไทย
มีมากในจังหวัดลพบุรี ปราจีนบุรี โดยเฉพาะเทือกเขาภูพาน จากผลการสำรวจของ Hoffman (2005)

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย นิยมรับประทานผลสดโดยการนำมาปรุงรสคล้ายๆ ส้มตำ
หรือเรียกว่า "ตำหมากเม่า" หรือใช้เปลือกต้นหรือใบมาโขลกรวมกับพริกสด และน้ำปลาร้า เรียกว่า
"ตำเมี่ยง" นิยมรับประทานในฤดูร้อน ความฝาดจากเปลือกต้นและใบ จะช่วยลดอาการท้องเสียได้
ในด้านโภชนาการมีคุณค่าทางอาหารสูง จากการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรม พบว่า
หมากเม่ามีคุณค่าในทุกส่วนของต้น มีรายงานวิจัยจากหน่วยงานต่างๆเช่น
- กัลมาลและคณะ (2546) ศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อ HIV เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย มีศักยภาพในการกระตุ้น
ภูมิคุ้มกันและมีฤทธิ์ด้านเชื้อ HIV
- สมานและสำรี (2549) สกัดสารโพลีนอลที่จะได้จากไวน์แดงสยามมัวส์ (SRPE) และไม้มะเม่า (MPE)
อัตรา 1 ต่อ 1 พบว่าสารโพลีนอลแสดงผลยับยั้งการเจริญเติบโตในเซลล์มะเร็ง 5 ชนิด ได้แก่
มะเร็งเต้านม มะเร็งเม็ดเลือดแดงตับอ่อนชนิที่ไวและดื่อต่อยา มะเร็งปิดชนิดเล็กที่ไว มีความเป็นไปได้
ที่จะมีการพัฒนาสารโพลีนอลดังกล่าวเป็นสารอาหารที่ใช้ในการป้องกันและรักษามะเร็งในระดับคลินิกต่อไป

ผลหมากเม่าสุกมีกรดอะมิโน 18 ชนิด แคลเซียม เหล็ก สังกะสี วิตามินบี 1 บี 2 ซี และ อี
ผลิตภัณฑ์แปรรูปเช่น น้ำผลไม้ ไวน์หมากเม่า แยมกวน สีธรรมชาติผสมอาหาร ฯลฯ น้ำหมากเม่าสกัด
เข้มข้น 100% มีสารอาหาร วิตามินหลายชนิด ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกาย รวมทั้งมีสารต้านอนุมูลอิสระ
ไวน์หมากเม่ามีสารต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง.

>>>>>>>>>>>>>
นำมาจาก http://ridmnrct.blogspot.com/2013/04/blog-post_30.html
http://www.dailynews.co.th/agriculture/211613